หลายๆคนอาจเคยได้ยินคำว่า BURNOUT SYNDROME หรือ ภาวะหมดไฟในการทำงาน ที่เกิดจากความเครียดสะสม เบื่อหน่ายกับงานที่ทำ รู้สึกเหน็ดเหนื่อย หมดแรงจูงใจ ไม่อยากจะแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอีกต่อไป หาความสุขหรือความสนุกจากการทำงานไม่ได้  ความรู้สึกเหล่านี้จัดอยู่ในกลุ่มอาการที่ไม่รุนแรงเท่ากับโรคซึมเศร้า แต่หากปล่อยให้ตัวเอง BURNOUT เป็นระยะเวลานาน อาจนำไปสู่การเกิดโรคซึมเศร้าจากการทำงานซึ่งจะส่งผลกระทบที่รุนแรงกว่าได้ 

โรคซึมเศร้า กับความเครียดในที่ทำงาน

  การทำงานนับเป็นหนึ่งในสาเหตุหลักของความเครียด กาทำงานอาจทำให้รู้สึกกดดัน ส่งผลเสียต่อสุขภาพจิตจนนำไปสู่ โรคซึมเศร้าได้  ไม่ว่าจะเป็นการเครียดจากงานที่ได้รับมอบหมาย การสื่อสารที่ผิดพลาดในองค์กร ความขัดแย้งระหว่างในที่ทำงานซึ่งปัญหาเหล่านี้ล้วนส่งผลให้รู้สึกหงุดหงิด รำคาญใจ และอาจกระทบต่อการทำงานได้

สาเหตุของโรคซึมเศร้าจากการทำงาน

ปัจจัยและเหตุการณ์ต่อไปนี้ อาจเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคซึมเศร้าในที่ทำงานได้

สัญญาณเตือนที่บ่งบอกถึงโรคซึมเศร้าจากการทำงาน

อาการที่อาจเป็นสัญญาณของโรคซึมเศร้าจากการทำงาน ได้แก่

เราจะดูแลสุขภาพกายใจให้พ้นจากโรคซึมเศร้าได้อย่างไร

ข้อปฏิบัติ ต่อไปนี้ อาจช่วยฟื้นฟูสภาพจิตใจและร่างกายจากปัญหาโรคซึมเศร้าจากการทำงานได้

เมื่อไรควรไปพบแพทย์ ?

ภาวะหมดไฟในการทำงานจัดอยู่ในกลุ่มอาการ ไม่รุนแรง เพียงแต่เป็นอาการเบื่องาน หมดแรงจูงใจ แต่ถ้าคุณหรือเพื่อนร่วมงานของคุณมีอาการเหล่านี้ เช่น รู้สึกอึดอัด หดหู่ เบื่อหน่ายสิ่งรอบตัว รู้สึกทุกข์ทรมานกับการใช้ชีวิต   วิตกกังวล  สิ้นหวัง รู้สึกว่าตนเองไร้ค่า นอนไม่หลับ  หมกหมุ่นเรื่องความล้มเหลวที่ผ่านมาแล้วโทษตัวเอง  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากคุณเริ่มมีความคิดด้านลบรุนแรงขึ้น จนพบว่าตนเองคิดวางแผนฆ่าตัวตาย คิดอยากทำร้ายตนเองและผู้อื่น รวมถึงหาทางออกให้กับปัญหาไม่ได้ ควรรีบโทรศัพท์ไปยังสายด่วนสุขภาพจิตที่เบอร์ 1323 เพื่อปรึกษาปัญหาความผิดปกติทางอารมณ์ได้ตลอด 24 ชั่วโมง หรือเข้าพบผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตและจิตแพทย์ทันที

ขอบคุณข้อมูลอ้างอิงจาก https://bit.ly/3THVsy7

.

ใน EP หน้า เราจะเขียนบทความเรื่องอะไร รอติดตามได้เลย! 

Line@: bit.ly/ForeToday

FB Chat: http://m.me/foretoday

“A better tomorrow starts today”

Digital Marketing foretoday