AI คืออะไร เป็นทางรอดหรือภัยคุกคามของมนุษยชาติ

AI ทางรอดหรือภัยคุกคามของมนุษยชาติ

เมื่อสองความเห็นต่างจากผู้ทรงอิทธิพลระดับมาปะทะกันที่งาน World AI Conference ที่เซี่ยงไฮ้ประเทศจีน

AI คืออะไร ?

ไม่ใช่เรื่องง่ายที่สองบุคคลสำคัญของโลกวันนี้อย่าง Jack Ma มังกรแห่งโลกตะวันออก เจ้าของบริษัทเทคโนโลยียักษ์ใหญ่ Alibaba และ Elon Musk เจ้าของบริษัทเทคโนโลยีสุดล้ำอย่าง Tesla และ SpaceX จากซีกโลกตะวันตกจะมาเจอกันAI จะครองโลกไหม? เทคโนโลยีจะทำให้มนุษย์เราถูกแย่งงานไปจนหมดรึเปล่า? บนเวทีดีเบตระหว่าง แจ็ค หม่ากับ อิลอน มัสก์ ทั้งสองผู้นำธุรกิจและเทคโนโลยีขึ้นเวทีแลกเปลี่ยนกันเรื่องมุมมองที่พวกเขามีกับอนาคตของ AIแจ๊ค หม่า ยังดูเหมือนจะอยู่ฝั่งที่มองอนาคต AI ในมุมที่ค่อนข้างบวก เขาเชื่อว่า AI จะไม่ได้กลายเป็นภัยคุกคามของมนุษยชาติอะไรขนาดนั้น แต่การ AI จะเข้ามาทำงานแทนที่งานที่มนุษย์ Jack Ma ก็เห็นว่า มันไม่ใช่ปัญหาแต่อย่างใด“คำถามที่น่าสนใจกว่าก็คือ ทำไมเราถึงอยากทำงานเยอะ ๆ ทั้ง ๆ ที่ AI สามารถทำให้เรามีเวลาว่างมากพอที่จะไปทำสิ่งที่เราอยากทำได้” “คอมพิวเตอร์มีแค่ชิป แต่มนุษย์มีหัวใจ มันคือหัวใจที่ปัญญาต่างๆเกิดขึ้นมาจากตรงนั้น” มหาเศรษฐีชาวจีนกล่าว นอกจากนั้น เขายังบอกด้วยว่า ตัวเองจะมีความสุขมากๆ เมื่อได้เห็นคอมพิวเตอร์ต่อสู้ด้วยกันเอง ขณะที่มุมของ Elon Musk นั้นเขามองว่า ปัญหาที่แท้จริงคือการตกงานของคนจำนวนมากพร้อม ๆ กันต่างหาก “เป็นไปได้ว่าอาชีพสุดท้ายบนโลก คือคนเขียนซอฟต์แวร์ AI” มัสก์เชื่อว่าแล้วในอนาคต AI จะเขียนซอฟต์แวร์ของตัวเองได้มากขึ้นเรื่อยๆ จนเข้ามาแทนที่อาชีพสุดท้ายที่ว่านี้ไปในที่สุด เขาจึงแนะนำให้ทุกคนเรียนวิศวกรรม ฟิสิกส์ รวมถึงพวก Soft Skills ที่ต้องสื่อสารระหว่างกันให้มากๆ  แต่หม่าก็โต้แย้งว่า การที่ AI จะเข้ามาควบคุมมนุษย์ได้นั้น เป็นเรื่องที่แทบเป็นไปไม่ได้ “ผมไม่เคยคิดถึงเรื่องนี้เลย มันเป็นไปไม่ได้” Jack MaยืนยันAI ทางรอดหรือภัยคุกคามของมนุษยชาติเมื่อสองความเห็นต่างจากผู้ทรงอิทธิพลระดับมาปะทะกันที่งาน World AI Conference ที่เซี่ยงไฮ้ประเทศจีนไม่ใช่เรื่องง่ายที่สองบุคคลสำคัญของโลกวันนี้อย่าง Jack Ma มังกรแห่งโลกตะวันออก เจ้าของบริษัทเทคโนโลยียักษ์ใหญ่ Alibaba และ Elon Musk เจ้าของบริษัทเทคโนโลยีสุดล้ำอย่าง Tesla และ SpaceX จากซีกโลกตะวันตกจะมาเจอกันได้ AI จะครองโลกไหม? เทคโนโลยีจะทำให้มนุษย์เราถูกแย่งงานไปจนหมดรึเปล่า? บนเวทีดีเบตระหว่าง แจ็ค หม่า กับ อิลอน มัสก์ ทั้งสองผู้นำธุรกิจและเทคโนโลยีขึ้นเวทีแลกเปลี่ยนกันเรื่องมุมมองที่พวกเขามีกับอนาคตของ AI แจ๊ค หม่า ยังดูเหมือนจะอยู่ฝั่งที่มองอนาคต AI ในมุมที่ค่อนข้างบวก เขาเชื่อว่า AI จะไม่ได้กลายเป็นภัยคุกคามของมนุษยชาติอะไรขนาดนั้น แต่การ AI จะเข้ามาทำงานแทนที่งานที่มนุษย์ Jack Ma ก็เห็นว่า มันไม่ใช่ปัญหาแต่อย่างใด

“คำถามที่น่าสนใจกว่าก็คือ ทำไมเราถึงอยากทำงานเยอะ ๆ ทั้ง ๆ ที่ AI สามารถทำให้เรามีเวลาว่างมากพอที่จะไปทำสิ่งที่เราอยากทำได้”“คอมพิวเตอร์มีแค่ชิป แต่มนุษย์มีหัวใจ มันคือหัวใจที่ปัญญาต่างๆ เกิดขึ้นมาจากตรงนั้น” มหาเศรษฐีชาวจีนกล่าว นอกจากนั้น เขายังบอกด้วยว่า ตัวเองจะมีความสุขมากๆ เมื่อได้เห็นคอมพิวเตอร์ต่อสู้ด้วยกันเอง ขณะที่มุมของ Elon Musk นั้นเขามองว่า ปัญหาที่แท้จริงคือการตกงานของคนจำนวนมากพร้อม ๆ กันต่างหาก “เป็นไปได้ว่าอาชีพสุดท้ายบนโลก คือคนเขียนซอฟต์แวร์ AI” มัสก์เชื่อว่าแล้วในอนาคต AI จะเขียนซอฟต์แวร์ของตัวเองได้มากขึ้นเรื่อยๆ จนเข้ามาแทนที่อาชีพสุดท้ายที่ว่านี้ไปในที่สุด เขาจึงแนะนำให้ทุกคนเรียนวิศวกรรม ฟิสิกส์ รวมถึงพวก Soft Skills ที่ต้องสื่อสารระหว่างกันให้มากๆแต่หม่าก็โต้แย้งว่า การที่ AI จะเข้ามาควบคุมมนุษย์ได้นั้น เป็นเรื่องที่แทบเป็นไปไม่ได้

“ผมไม่เคยคิดถึงเรื่องนี้เลย มันเป็นไปไม่ได้” Jack Maยืนยันถึงความเห็นจะดูคนละขั้วกันก็ตาม ก็ยังมีหลายๆเรื่องบนเวทีที่ทั้งสองเห็นร่วมกันอย่างเช่นเรื่องการศึกษาJack Ma มองว่าระบบการศึกษาในปัจจุบันที่ล้าสมัย เนื่องจากเป็นโมเดลที่ออกแบบมาสำหรับยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม ส่วนการศึกษาในอนาคตคือ การศึกษาที่มีเทคโนโลยีเป็นส่วนร่วม และสามารถช่วยให้ผู้คนมีความคิดสร้างสรรค์มากขึ้น คิดอย่างเป็นระบบมากขึ้นElon Musk เห็นด้วยกับ Jack Ma และเขาก็ได้พ่วง Neuralink ลงไปด้วยเช่นกันว่า แทนที่จะปล่อยให้ตัวเองถูกทิ้งไว้ข้างหลังเพราะเรียนรู้ได้ไม่เร็วพอ บางทีการแม็ปสมองมนุษย์เข้ากับ AI ด้วยการอัปโหลดทุกอย่างผ่าน Neuralink เข้าไปในสมองได้ก็น่าจะรวดเร็วขึ้นถึงความเห็นจะดูคนละขั้วกันก็ตาม ก็ยังมีหลายๆเรื่องบนเวทีที่ทั้งสองเห็นร่วมกันอย่างเช่นเรื่องการศึกษาJack Ma มองว่าระบบการศึกษาในปัจจุบันที่ล้าสมัย เนื่องจากเป็นโมเดลที่ออกแบบมาสำหรับยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม ส่วนการศึกษาในอนาคตคือ การศึกษาที่มีเทคโนโลยีเป็นส่วนร่วม และสามารถช่วยให้ผู้คนมีความคิดสร้างสรรค์มากขึ้น คิดอย่างเป็นระบบมากขึ้น Elon Musk เห็นด้วยกับ Jack Ma และเขาก็ได้พ่วง Neuralink ลงไปด้วยเช่นกันว่า แทนที่จะปล่อยให้ตัวเองถูกทิ้งไว้ข้างหลังเพราะเรียนรู้ได้ไม่เร็วพอ บางทีการแม็ปสมองมนุษย์เข้ากับ AI ด้วยการอัปโหลดทุกอย่างผ่าน Neuralink เข้าไปในสมองได้ก็น่าจะรวดเร็วขึ้น

แจ็ก หม่า กล่าวปิดท้ายว่าเขาอยากให้โฟกัสที่โลก การที่เราจะเอาขยะออกจาก       มหาสมุทร ยังเป็นสิ่งที่ควรทำมากกว่าการไปดาวอังคาร สุดท้าย มนุษย์ต้องโฟกัสที่คุณค่า มนุษย์ต้องมีความฝัน ไม่ใช่เทคโนโลยีที่จะเปลี่ยนโลก แต่เป็นความฝันที่อยู่เบื้องหลังเทคโนโลยีที่จะเปลี่ยนโลก เราต้องเชื่อในตัวเราเอง เราต้องเชื่อในความเป็นมนุษย์ เราต้องเชื่อในมนุษย์รุ่นต่อไป มันเป็นเรื่องดีที่มนุษย์จะผิดพลาด มันเป็นเรื่องดีที่มนุษย์จะเรียนรู้จากความผิดพลาด และ มันเป็นเรื่องดีที่มนุษย์จะตาย ปิดท้ายด้วยคำพูดของ อีลอน มัสก์ ที่กล่าวปิด หลังแจ็ก หม่า พูดจบ“Fight for the life of consciousness”จงต่อสู้เพื่อให้ความนึกคิด มีชีวิตอยู่ในจักรวาลนี้ต่อไป..

“วันพรุ่งนี้ที่ดีกว่า จะได้มาต้องเริ่มที่วันนี้”

“A better tomorrow starts today”